วันอังคารที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551

mon voyage


M on voyage

Quand je suis en M.5. La premiere fois que j'ai aller avec M.4, M.5 et M.6.

Cette campe du français à Huanamlom est fantastique.

Parce que j’ai rencontrèe beaucoup d’amis et les autres.

je peux pratique le français.

J’aime beaucoup mon voyage cette camp.

Mes amis et moi sont amusés.

วันอังคารที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2551

Mon amour •✿•



Mon Amour
Je suis Christian depuis que je suis en M.4 grâce à la fête du Christmas ,je trouve que tous dans l’église sont sincères.Je vais l’église à l’église le dimanche avec ma famille, on chante et fait les activités. A l’église, je connais beaucoup de monde.

Mon dieu, il m’aime et il me souhaîte beaucoup de choses.Je me sens très contente particulièrement. L’examen d’entré de l’université de Chiang Mai, je ne suis pas fort en mathematic mais je peux le reussir. J’aime beaucoup mon dieu parce qu’il me souhaîte les bonnes choses.

วันเสาร์ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2551

Le traité de Lisbonne



Le traité de Lisbonne
Contrairement à la Constitution européenne, le traité de Lisbonne prend la place des traités existants. Il procède par voie d’amendements (comme une loi française) du «traité sur l’UE» et du «traité sur le fonctionnement de l’UE» (qui s’appelait jusque-là «traité instituant la Communauté européenne»). Il reprend l’essentiel des innovations institutionnelles contenues dans la Constitution, hormis tout ce qui peut faire penser à un Etat fédéral (symboles de l’Union, ministre des Affaires étrangères, etc.):création d’un poste de président du Conseil européen des chefs d’Etat et de gouvernement, renforcement du gouvernement économique de la zone euro et de la politique étrangère commune, changement du mode de calcul du vote à la majorité qualifiée, extension du vote à la majorité qualifiée et des pouvoirs du Parlement européen, réduction de la taille de la Commission, etc. En revanche.

ตรงข้ามกับรัฐธรรมนูญของสหภาพยุโรป สนธิสัญญาลิสบอนถูกนำมาแทนรัฐธรรมนูญเดิม สัญญาลิสบอนเกิดขึ้นมาจากแนวทางของบทบัญญัติเดิม(กฏหมายของฝรั่งเศส)ของอียู และวิธีการทำงานของอียู (เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า traité instituant la Communauté européenne) สัญญาลิสบอนฉบับนี้นำนวัตกรรมที่สำคัญมาสู่สถาบันต่างๆของอียู โดยต้องคิดถึงสหพันธ์เป็นหลัก (สัญลักษณ์ของสหพันธ์,รัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศ) เช่น การแต่งตั้งตำแหน่งประธานสภายุโรป และเป็นสภาที่สมาชิกประกอบด้วยผู้นำประเทศ สนันสนุนเศรษฐกิจของรัฐบาลในสหภาพยุโรป อีกทั้งยังได้เปลี่ยนวิธีการนับคะแนนนเสียงข้างมาก โดยเพิ่มสัดส่วนเสียงข้างมากในการลงมติรับรองเรื่องราวใด ๆ และยังได้ลดขนาดของคณะกรรมาธิการยุโรปลงอีกด้วย

วันจันทร์ที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2551

Le Monument à Paris




Musée du Louvre

Louvre พิพิธภัณฑ์ “ลูฟวร์” เป็นพิพิธภัณฑ์ที่เชื่อว่าใหญ่ที่สุดในโลก และสถานที่นี้เคยเป็นที่ประทับของกษัตริย์ของฝรั่งเศส ตึกที่ทำการเป็นตึกที่มีความงามของสถาปัตยกรรมตั้งแต่สมัย “เรอเนอซองส์” และเป็นแหล่งสะสมศิลปะชิ้นเลิศของเก่าของศิลปะตะวันตก

ลูฟวร์ถือกำเนิด เมื่อปี ค.ศ. 1200 เมื่อ “ฟิลลิป ออกุสธ์” สร้างป้อมปราการริมฝั่งแม่น้ำ “ลาแซนน์” จุดประสงค์ตอนนั้นคือ ป้องกันฝรั่งเศสจากชาว “นอร์มองส์” และชาวอังกฤษ ต่อมา “ชาโตว์” นี้ก็ถูกปรับปรุงให้ใหญ่ขึ้นโดย “ชาร์ลส์ ที่ห้า” ในศตวรรษที่ 14 และในศตวรรษที่16 ก็ถูกรื้อลงเหลือไว้แค่ด้านตะวันตกและส่วนหนึ่งของด้านทิศใต้ สร้างโดยสถาปนิก “ปิแอร์ เลสโคต์” ผู้ที่นำรูปแกะสลักมาตกแต่งคือนักตกแต่งนามว่า “ชอง กูจ็อง” ศิลปที่สะสมตอนนั้นมีแค่หนึ่งส่วนสี่ของส่วนที่เรียกว่า “คู คาเร่” Cour Carrée ทางด้านตะวันออกของพิพิธภันฑ์นี้เท่านั้น

ในปีค.ศ. 1564 “คาธเธอริน เดอ เมดิซิส์” ให้สถาปนิก “ฟิลลิแบร์ เดอโลร์เมอ” สร้างชาโตว์เล็กขึ้นในด้านตะวันตกที่เรียกกันว่า “ตุลเลริส์” Tuileries นี่เป็นสมัยที่ให้เป็นที่ประทับของเชื้อพระวงศ์ของฝรั่งเศส ที่เรียกกันว่า วัง “พาเลล์ เดส์ ตุลเลริส์” ด้วยสร้างตัวตึกหลายๆหลัง ตึกสำคัญคือ “กรองด์ กาเลอรี่” ซึ่งสร้างในสมัย “อองรี ที่สี่”
เมื่อศตวรรษที่ 17 กษัตริย์ หลุยส์ ที่ 13 และรัฐมนตรี “ริเคลลิเอย์ ได้สร้างส่วนที่เรียกว่า Lescot's ปีกทางเหนือด้านขวา โดยต่อเติมส่วนที่เรียกว่า Pavillon de l’Horloge หรือ ที่เรียกกันว่า “หอนาฬิกาพาวิย็อง” และ สมัยกษัตริย์ หลุยส์ที่ 14 รัฐมนตรี “คอลแบร์” ได้สร้าง Cour Carrée ซึ่งเป็นจัตุรัสขึ้น ผู้สร้างจัติรัสนี้คือศิลปิน “หลุยส์ เลอ วาวย์”

พิพิธภัณฑ์นี้เป็นที่อยู่อาศัยของราชวงศ์จนถึงสมัยของกษัตริย์ หลุยส์ที่ 14 ซึ่งย้ายไปอยู่ราชวัง “แวร์แซยย์” ในปี ค.ศ. 1682

หลังจากการปฏิวัติปี ค.ศ. 1789 กษัตริย์ นาโปลีออง์ ที่ 1 และที่ 3 อาศัยอยู่ในบริเวณ Tuileries และสมัยของกษัตริย์สองคนนี้เป็นระยะเวลาที่ “ลูฟวร์” ถูกใช้ทำเป็นสำนักงานและพิพิธภัณฑ์ด้วย ตอนแรกก็เป็นสถานที่ให้เหล่าราชวงศ์และคนสนิทได้ชื่นชม จนถึง 10 สิงหาคม 1793 เปิดเป็น Musée de la République ให้คนทั่วไปได้ชื่นชม

อีกไม่นานต่อมาในปี 1871 มีเหตุการณ์ไม่สงบทางการเมืองขึ้น Tuileries ถูกเผา ทำให้ลูฟวร์ถูกขยายในเวลาต่อมา กลายเป็นสถานที่ที่เรียกว่า Arc de Triomphe du Carrousel ทางด้านตะวันตกของ สวน Tuileries และต่อเติมด้วยสถานที่ Place de la Concorde (ซึ่งเป็นจัตุรัสที่ใหญ่ที่สุดในปารีส์) และ Place Charles de Gualleศิลปที่สำคัญกษัติรย์ François I เริ่มสะสมตั้งแต่ตอนที่ยังเป็น “ป้อมปราการ” ด้วยภาพเขียน 12 ภาพจากอิตาลี ซึ่งรวมผลงานของ Titian, Raphael, และ Leonardo da Vinci คือ “Jaconde” (Mona Lisa) เมื่อถึงสมัย Louis XIII ภาพทั้งหมดมีประมาณ 200 ภาพ เมื่อสิ้นสมัย Louis XIV (หลุยส์ 14) ในปี ค.ศ. 1715 มีศิลปทั้งหมด (รูปภาพและสิ่งอื่นๆ) 2,500 ชิ้น กษัตริย์ นาโปลีออง์ โบนาปาร์ท ได้เพิ่มชิ้นศิลปทั้งหลายมากมายโดยเอามาจากประเทศต่างๆที่ไปโจมตีVenus de Milo ได้ถูกซื้อมาด้วยราคา 6000 ฟรองส์ในสมัย กษัตริย์ หลุยส์ 18 ในปี ค.ศ. 1820

◎◎◎◎◎◎◎◎◎◎◎◎◎◎◎◎◎◎◎



Bonjour★




Je m'apelle Kedsanee Wiriya.

Mon surnom est View. ♬

Je suis née 18 april 1990.

J'ai 17 ans.Je suis petite et brune.
Je suis gais,aimable et optimiste.Mais un pue nerveux.


Ma famille sont 4 personnes .J'ai 1 soeur.♀